วันว่างๆๆๆๆๆๆ

วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2555

องุ่น ปลูกในเมืองก็ได้ ง่ายนิดเดียว

 1“เราเป็นเถาองุ่นแท้ และพระบิดาของเราทรงเป็นผู้ดูแลรักษา 2แขนงทุกแขนงในเราที่ไม่ออกผล พระองค์ก็ทรงตัดทิ้งเสีย และแขนงทุกแขนงที่ออกผล พระองค์ก็ทรงลิดเพื่อให้ออกผลมากขึ้น 3ท่านทั้งหลายได้รับการชำระให้สะอาดแล้วด้วยถ้อยคำที่เราได้กล่าวแก่ท่าน 4จงเข้าสนิทอยู่ในเรา และเราเข้าสนิทอยู่ในท่าน แขนงจะออกผลเองไม่ได้ นอกจากจะติดอยู่กับเถาฉันใด ท่านทั้งหลายก็จะเกิดผลไม่ได้ นอกจากจะเข้าสนิทอยู่ในเราฉันนั้น 5เราเป็นเถาองุ่น ท่านทั้งหลายเป็นแขนง ผู้ที่เข้าสนิทอยู่ในเราและเราเข้าสนิทอยู่ในเขา ผู้นั้นก็จะเกิดผลมาก เพราะถ้าแยกจากเราแล้วท่านจะทำสิ่งใดไม่ได้เลย .... ยน15:1-5



องุ่น เป็นไม้ผลซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่าปลูกยากและมีความเสี่ยงในการปลูกสูง แต่ผลจากการศึกษาและพัฒนาการปลูกองุ่นของโครงการหลวงพบว่า สามารถทำให้การปลูกองุ่นประสบผลสำเร็จได้ง่ายขึ้น โดยใช้ระบบการตัดแต่งกิ่งและการสร้างกิ่งที่จะให้ผลผลิตทดแทนที่ดี การจัดการให้ต้นองุ่นเจริญเติบโตเหมาะสมกับฤดูกาลและอุณหภูมิการปลูกองุ่นโดยใช้หลังคาพลาสติคคุณชยาณ์ ไชยประสบ เจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวงปางดะ กล่าวว่า การปลูกองุ่น หรือผลไม้อื่นทั่วไปผู้ปลูกดูสภาพพื้นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสม แต่องุ่นไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องสภาพพื้นที่มากนัก เนื่องจากองุ่นปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่พื้นที่มีน้ำเพียงพอ สำหรับภูมิอากาศนับว่ามีอิทธิพลต่อการปลูกองุ่นเป็นอย่างมาก เพราะมีอิทธิพลต่อการสร้างตาดอกและการให้ผลผลิต องุ่นบางพันธุ์จะให้ผลผลิตได้ดีในสภาพอากาศที่หนาวเย็น ในขณะที่บางพันธุ์ก็สามารถให้ผลผลิตได้ในสภาพอากาศที่หลากหลาย เช่น พันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ที่ปลูกได้ดีและมีคุณภาพ ถ้าสภาพอากาศไม่หนาวเย็นก็ควรจะเลือกปลูกองุ่นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตง่ายในสภาพอากาศร้อน และต้องมีการกำหนดระยะการปลูกที่เหมาะสม โดยใช้ต้นแบบ ตัว T และ ตัว H ซึ่งการปลูกองุ่นในระบบใหม่ของโครงการหลวงจะใช้ต้นกล้าขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถจัดทรงต้นและสร้างกิ่งได้ทันทีหลังปลูกโดยระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูก คือในช่วงปลายฤดูฝนถึงต้นฤดูร้อน หรือตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงมีนาคม แต่ไม่ว่าจะปลูกในเดือนใดของช่วงนี้ก็ต้องตัดแต่งกิ่งเพื่อสร้างกิ่งหลักให้ได้ภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคม ซึ่งสภาพภูมิอากาศกำลังร้อนขึ้น เพื่อให้กิ่งหลักที่เกิดมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ซึ่งจะทำให้กิ่งสร้างกิ่งแขนงได้ดี ซึ่งกิ่งนี้จะเป็นกิ่งที่ใช้เพื่อตัดแต่งเอาผลผลิตต่อไป การเตรียมหลุมปลูกควรให้มีความกว้าง 70-100 เซนติเมตร แต่ไม่จำเป็นต้องลึกนัก คือประมาณ 30-50 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยหินฟอสเฟต และผสมดินปลูกในหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ซึ่งถ้ามีการใส่วัสดุต่างๆ สำหรับปรับปรุงดินไว้เป็นอย่างดี ตั้งแต่การไถเตรียมพื้นที่ ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำหลุมใหญ่นัก การนำต้นกล้าลงปลูกในหลุมจะต้องจัดรากให้กระจายออกไปรอบต้น

เมื่อองุ่นโตขึ้นมาแล้ว ผู้ปลูกองุ่นต้องจัดทรงต้นองุ่น คือการจัดทรงให้ต้นองุ่นมีรูปทรงที่กำหนด โดยการจัดวางกิ่งต่างๆ ภายในต้นอย่างเป็นระบบ และเหมาะสม เพื่อให้องุ่นให้ผลผลิตที่ดีและสะดวกต่อการปฏิบัติดูแลรักษา ส่วนประกอบในทรงต้นองุ่นมี 4 อย่าง คือ ต้น กิ่งหลัก โครงสร้าง กิ่งที่ใช้ตัดแต่งกิ่งเพื่อเอาผลผลิต กิ่งใหม่ที่ให้ผลผลิต ซึ่งรูปแบบทรงต้นองุ่นจะเป็นแบบ ตัว H และทรง ตัว T โดยทรงต้นทั้งสองแบบจะทำให้ต้นองุ่นแข็งแรงและเจริญเติบโตรวดเร็ว สามารถปรับใช้ได้กับโรงเรือนหลายรูปแบบ

การตัดแต่งกิ่งเพื่อเอาผลผลิตเป็นขั้นตอนสำคัญมาก เพราะเป็นวิธีการทำให้ต้นองุ่นให้ผลผลิต และสร้างกิ่งสำหรับตัดแต่งเอาผลผลิตในครั้งต่อไป โดยการตัดแต่งกิ่งเป็นการบังคับให้แตกตาและเกิดเป็นกิ่งใหม่ที่มีดอกและติดผล จากนั้นเมื่อกิ่งใหม่แก่ ก็ใช้เป็นกิ่งสำหรับตัดเอาผลผลิตต่อไป ในการปลูกองุ่นโครงการหลวงได้พัฒนาระบบการตัดแต่งกิ่งแบบใหม่ที่ทำให้ต้นองุ่นให้ผลผลิตสูง และสามารถสร้างกิ่งทดแทนได้ดี โดยเป็นระบบการตัดแต่ง 2 ครั้ง ต่อปี และ 1 กิ่ง ตัดแต่ง 2 ครั้ง ดังนี้

ตัดแต่ง ครั้งที่ 1 แบบตัดยาวเป็นการตัดแต่งเพื่อมุ่งเอาผลผลิตในช่วงที่มีคุณภาพดีที่สุด คือฤดูหนาวหรือฤดูแล้ง โดยหลังจากการจัดทรงต้นและตัดแต่งสร้างกิ่งในเดือนมกราคม กิ่งจะแก่และเริ่มตัดแต่งเอาผลผลิตตามระบบได้ในเดือนสิงหาคม-ตุลาคม วิธีการตัดแต่งกิ่งแบบยาว คือเหลือตาบนกิ่ง ประมาณ 5-10 ตา ขึ้นกับความสมบูรณ์ของตาและใช้สารไฮโดรเจน ไซยานาไมด์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ทาที่ตา 2-3 ตา จากปลายกิ่งเพื่อช่วยให้แตกตา และให้ผลผลิต โดยต้องรักษาไม่ให้ตาที่อยู่โคนกิ่งแตกออกมาเพื่อไว้ใช้ในการตัดแต่งครั้งที่ 2 ต่อไป การตัดแต่งครั้งที่ 1 นี้ ถ้าทำในช่วงที่อากาศเย็นจะทำให้แตกตาช้าลง

ตัดแต่ง ครั้งที่ 2 แบบตัดแต่งสั้น เป็นการตัดแต่งเพื่อสร้างกิ่งใหม่ทดแทนกิ่งเดิมและเอาผลผลิต โดยหลังจากเก็บผลผลิตของการตัดแต่งครั้งที่ 1 ซึ่งจะอยู่ในช่วงฤดูหนาวหรือฤดูร้อนแล้วสามารถตัดแต่งกิ่งครั้งที่ 2 ได้ทันที โดยจะทำได้ตั้งแต่เดือนที่อุณหภูมิเริ่มสูงขึ้น คือเดือนมกราคมเพราะเหมาะต่อการสร้างกิ่งใหม่ให้สมบูรณ์ วิธีการคือตัดแต่งกิ่งเดิมอีกครั้งให้สั้นลง เหลือ 2-3 ตา จากนั้นพ่นสารไฮโดรเจนไซยานาไมด์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ทำลายการพักตัวของตา จะทำให้กิ่งที่เกิดใหม่ที่อยู่ใกล้กับกิ่งโครงสร้างเช่นเดิม โดยยังให้ผลผลิตได้ดี แต่ความหวานของผลอาจลดต่ำลงถ้าผลเก็บเกี่ยวในฤดูฝน ปกติกิ่งที่เกิดใหม่จะมากเกินไป จึงต้องตัดแต่งกิ่งออกตั้งแต่กิ่งที่ต้องการเท่านั้น ต่อไปเมื่อกิ่งแก่ประมาณเดือนกรกฎาคม-กันยายน ก็ตัดแต่งเอาผลผลิตต่อไป โดยเป็นการตัดแต่งครั้งที่ 1 แบบตัดแต่งยาว วิธีการดังกล่าวจะทำให้กิ่งยืดยาว ห่างออกจากกิ่งหลักประมาณปีละ 5 เซนติเมตร

การเก็บเกี่ยวผลผลิตผลองุ่นต้องเก็บเกี่ยวในระยะที่ผลสุกและมีรสชาติดีตั้งแต่บนต้น เพราะหลังเก็บเกี่ยวแล้วผลจะไม่มีการพัฒนาด้านรสชาติให้ดีขึ้นได้เหมือนไม้ผลบางอย่าง องุ่นแต่ละพันธุ์มีระยะเวลาตั้งแต่ตัดแต่งกิ่งถึงเก็บเกี่ยวต่างกัน และยังแปรปรวนตามฤดูกาลและพื้นที่ปลูกด้วย จึงเป็นแค่การประมาณว่าผลผลิตจะเก็บเกี่ยวได้ช่วงใดเท่านั้น ดัชนีเก็บเกี่ยวของผลองุ่นเบื้องต้นจะพิจารณาจากลักษณะสีผิวของผลที่สามารถสังเกตได้ แต่อย่างไรก็ตาม การเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลผลิตองุ่นที่คุณภาพสูง และเชื่อมั่นได้ ควรวัดความหวานของผลทุกช่อ เพราะถึงแม้ว่าจะตัดแต่งกิ่งพร้อมกัน แต่การบานของดอกยังคงมีความแปรปรวนอยู่มาก วิธีการทำโดยเก็บผลที่ปลายช่อมาวัดความหวาน ความหวานขององุ่นจะขึ้นอยู่กับพันธุ์ โดยองุ่นในพันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ในฤดูหนาวที่ผลผลิตมีคุณภาพดี จะมีความหวานประมาณ 18-20 องศาบริกซ์ แต่ในฤดูฝนจะมีความหวานประมาณ 14-16 องศาบริกซ์

การป้องกันโรคและกำจัดโรคขององุ่น ซึ่งองุ่นเป็นไม้ผลที่มีโรคและแมลงมากชนิดหนึ่ง จึงเป็นเหตุให้การปลูกองุ่นต้องลงทุนสูง โรคขององุ่นมีดังนี้ โรคราน้ำค้าง เกิดจากเชื้อรา วิธีการป้องกันคือ ฉีดพ่นด้วย ริดโดมิล โกลด์ เอพรอล หรือ อาลีเอท โรคราแป้งเกิดจากเชื้อรา การป้องกันกำจัดต้องตรวจสอบแปลงอยู่เสมอ และป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบการระบาด โดยใช้สารเคมีประเภทสัมผัส เช่น คูมูลัส-ดีเอฟ ดาโคนิล และแอนทราโคล ถ้าการระบาดรุนแรงให้ใช้สารประเภทดูดซึม เช่น คาลิกซิน นูสตาร์ ซาพรอล และสโตรบี้ โรคสแคบหรือโรคอีบุบ เกิดจากเชื้อราชั้นสูง ทันทีที่พบการระบาดควรพ่นยาประเภทดูดซึม เช่น อมิสตา ซาพรอล ท็อกซิน สลับกับ รอฟรัลโกลด์ ดาโคนิล สกอร์ โรคราสนิมเกิดจากเชื้อรา การป้องกันกำจัด หากพบการระบาดพ่นด้วยไวตาแวกซ์ นูสตาร์ หรือโพรพิโคนาโซล ส่วนแมลงที่พบการระบาด เพลี้ยไฟ สารเคมีที่ใช้กำจัด เช่น คอนฟิดอร์ หรือ ทรีบอน ไรแดง สารป้องกันกำจัด ได้แก่ โอ ไมท์ 30 หรือนิสโซลัน

 1“เราเป็นเถาองุ่นแท้ และพระบิดาของเราทรงเป็นผู้ดูแลรักษา 2แขนงทุกแขนงในเราที่ไม่ออกผล พระองค์ก็ทรงตัดทิ้งเสีย และแขนงทุกแขนงที่ออกผล พระองค์ก็ทรงลิดเพื่อให้ออกผลมากขึ้น 3ท่านทั้งหลายได้รับการชำระให้สะอาดแล้วด้วยถ้อยคำที่เราได้กล่าวแก่ท่าน 4จงเข้าสนิทอยู่ในเรา และเราเข้าสนิทอยู่ในท่าน แขนงจะออกผลเองไม่ได้ นอกจากจะติดอยู่กับเถาฉันใด ท่านทั้งหลายก็จะเกิดผลไม่ได้ นอกจากจะเข้าสนิทอยู่ในเราฉันนั้น 5เราเป็นเถาองุ่น ท่านทั้งหลายเป็นแขนง ผู้ที่เข้าสนิทอยู่ในเราและเราเข้าสนิทอยู่ในเขา ผู้นั้นก็จะเกิดผลมาก เพราะถ้าแยกจากเราแล้วท่านจะทำสิ่งใดไม่ได้เลย .... ยน15:1-5


องุ่น เป็นไม้ผลซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่าปลูกยากและมีความเสี่ยงในการปลูกสูง แต่ผลจากการศึกษาและพัฒนาการปลูกองุ่นของโครงการหลวงพบว่า สามารถทำให้การปลูกองุ่นประสบผลสำเร็จได้ง่ายขึ้น โดยใช้ระบบการตัดแต่งกิ่งและการสร้างกิ่งที่จะให้ผลผลิตทดแทนที่ดี การจัดการให้ต้นองุ่นเจริญเติบโตเหมาะสมกับฤดูกาลและอุณหภูมิการปลูกองุ่นโดยใช้หลังคาพลาสติคคุณชยาณ์ ไชยประสบ เจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวงปางดะ กล่าวว่า การปลูกองุ่น หรือผลไม้อื่นทั่วไปผู้ปลูกดูสภาพพื้นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสม แต่องุ่นไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องสภาพพื้นที่มากนัก เนื่องจากองุ่นปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่พื้นที่มีน้ำเพียงพอ สำหรับภูมิอากาศนับว่ามีอิทธิพลต่อการปลูกองุ่นเป็นอย่างมาก เพราะมีอิทธิพลต่อการสร้างตาดอกและการให้ผลผลิต องุ่นบางพันธุ์จะให้ผลผลิตได้ดีในสภาพอากาศที่หนาวเย็น ในขณะที่บางพันธุ์ก็สามารถให้ผลผลิตได้ในสภาพอากาศที่หลากหลาย เช่น พันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ที่ปลูกได้ดีและมีคุณภาพ ถ้าสภาพอากาศไม่หนาวเย็นก็ควรจะเลือกปลูกองุ่นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตง่ายในสภาพอากาศร้อน และต้องมีการกำหนดระยะการปลูกที่เหมาะสม โดยใช้ต้นแบบ ตัว T และ ตัว H ซึ่งการปลูกองุ่นในระบบใหม่ของโครงการหลวงจะใช้ต้นกล้าขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถจัดทรงต้นและสร้างกิ่งได้ทันทีหลังปลูกโดยระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูก คือในช่วงปลายฤดูฝนถึงต้นฤดูร้อน หรือตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงมีนาคม แต่ไม่ว่าจะปลูกในเดือนใดของช่วงนี้ก็ต้องตัดแต่งกิ่งเพื่อสร้างกิ่งหลักให้ได้ภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคม ซึ่งสภาพภูมิอากาศกำลังร้อนขึ้น เพื่อให้กิ่งหลักที่เกิดมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ซึ่งจะทำให้กิ่งสร้างกิ่งแขนงได้ดี ซึ่งกิ่งนี้จะเป็นกิ่งที่ใช้เพื่อตัดแต่งเอาผลผลิตต่อไป การเตรียมหลุมปลูกควรให้มีความกว้าง 70-100 เซนติเมตร แต่ไม่จำเป็นต้องลึกนัก คือประมาณ 30-50 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยหินฟอสเฟต และผสมดินปลูกในหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ซึ่งถ้ามีการใส่วัสดุต่างๆ สำหรับปรับปรุงดินไว้เป็นอย่างดี ตั้งแต่การไถเตรียมพื้นที่ ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำหลุมใหญ่นัก การนำต้นกล้าลงปลูกในหลุมจะต้องจัดรากให้กระจายออกไปรอบต้น

เมื่อองุ่นโตขึ้นมาแล้ว ผู้ปลูกองุ่นต้องจัดทรงต้นองุ่น คือการจัดทรงให้ต้นองุ่นมีรูปทรงที่กำหนด โดยการจัดวางกิ่งต่างๆ ภายในต้นอย่างเป็นระบบ และเหมาะสม เพื่อให้องุ่นให้ผลผลิตที่ดีและสะดวกต่อการปฏิบัติดูแลรักษา ส่วนประกอบในทรงต้นองุ่นมี 4 อย่าง คือ ต้น กิ่งหลัก โครงสร้าง กิ่งที่ใช้ตัดแต่งกิ่งเพื่อเอาผลผลิต กิ่งใหม่ที่ให้ผลผลิต ซึ่งรูปแบบทรงต้นองุ่นจะเป็นแบบ ตัว H และทรง ตัว T โดยทรงต้นทั้งสองแบบจะทำให้ต้นองุ่นแข็งแรงและเจริญเติบโตรวดเร็ว สามารถปรับใช้ได้กับโรงเรือนหลายรูปแบบ

การตัดแต่งกิ่งเพื่อเอาผลผลิตเป็นขั้นตอนสำคัญมาก เพราะเป็นวิธีการทำให้ต้นองุ่นให้ผลผลิต และสร้างกิ่งสำหรับตัดแต่งเอาผลผลิตในครั้งต่อไป โดยการตัดแต่งกิ่งเป็นการบังคับให้แตกตาและเกิดเป็นกิ่งใหม่ที่มีดอกและติดผล จากนั้นเมื่อกิ่งใหม่แก่ ก็ใช้เป็นกิ่งสำหรับตัดเอาผลผลิตต่อไป ในการปลูกองุ่นโครงการหลวงได้พัฒนาระบบการตัดแต่งกิ่งแบบใหม่ที่ทำให้ต้นองุ่นให้ผลผลิตสูง และสามารถสร้างกิ่งทดแทนได้ดี โดยเป็นระบบการตัดแต่ง 2 ครั้ง ต่อปี และ 1 กิ่ง ตัดแต่ง 2 ครั้ง ดังนี้

ตัดแต่ง ครั้งที่ 1 แบบตัดยาวเป็นการตัดแต่งเพื่อมุ่งเอาผลผลิตในช่วงที่มีคุณภาพดีที่สุด คือฤดูหนาวหรือฤดูแล้ง โดยหลังจากการจัดทรงต้นและตัดแต่งสร้างกิ่งในเดือนมกราคม กิ่งจะแก่และเริ่มตัดแต่งเอาผลผลิตตามระบบได้ในเดือนสิงหาคม-ตุลาคม วิธีการตัดแต่งกิ่งแบบยาว คือเหลือตาบนกิ่ง ประมาณ 5-10 ตา ขึ้นกับความสมบูรณ์ของตาและใช้สารไฮโดรเจน ไซยานาไมด์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ทาที่ตา 2-3 ตา จากปลายกิ่งเพื่อช่วยให้แตกตา และให้ผลผลิต โดยต้องรักษาไม่ให้ตาที่อยู่โคนกิ่งแตกออกมาเพื่อไว้ใช้ในการตัดแต่งครั้งที่ 2 ต่อไป การตัดแต่งครั้งที่ 1 นี้ ถ้าทำในช่วงที่อากาศเย็นจะทำให้แตกตาช้าลง

ตัดแต่ง ครั้งที่ 2 แบบตัดแต่งสั้น เป็นการตัดแต่งเพื่อสร้างกิ่งใหม่ทดแทนกิ่งเดิมและเอาผลผลิต โดยหลังจากเก็บผลผลิตของการตัดแต่งครั้งที่ 1 ซึ่งจะอยู่ในช่วงฤดูหนาวหรือฤดูร้อนแล้วสามารถตัดแต่งกิ่งครั้งที่ 2 ได้ทันที โดยจะทำได้ตั้งแต่เดือนที่อุณหภูมิเริ่มสูงขึ้น คือเดือนมกราคมเพราะเหมาะต่อการสร้างกิ่งใหม่ให้สมบูรณ์ วิธีการคือตัดแต่งกิ่งเดิมอีกครั้งให้สั้นลง เหลือ 2-3 ตา จากนั้นพ่นสารไฮโดรเจนไซยานาไมด์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ทำลายการพักตัวของตา จะทำให้กิ่งที่เกิดใหม่ที่อยู่ใกล้กับกิ่งโครงสร้างเช่นเดิม โดยยังให้ผลผลิตได้ดี แต่ความหวานของผลอาจลดต่ำลงถ้าผลเก็บเกี่ยวในฤดูฝน ปกติกิ่งที่เกิดใหม่จะมากเกินไป จึงต้องตัดแต่งกิ่งออกตั้งแต่กิ่งที่ต้องการเท่านั้น ต่อไปเมื่อกิ่งแก่ประมาณเดือนกรกฎาคม-กันยายน ก็ตัดแต่งเอาผลผลิตต่อไป โดยเป็นการตัดแต่งครั้งที่ 1 แบบตัดแต่งยาว วิธีการดังกล่าวจะทำให้กิ่งยืดยาว ห่างออกจากกิ่งหลักประมาณปีละ 5 เซนติเมตร

การเก็บเกี่ยวผลผลิตผลองุ่นต้องเก็บเกี่ยวในระยะที่ผลสุกและมีรสชาติดีตั้งแต่บนต้น เพราะหลังเก็บเกี่ยวแล้วผลจะไม่มีการพัฒนาด้านรสชาติให้ดีขึ้นได้เหมือนไม้ผลบางอย่าง องุ่นแต่ละพันธุ์มีระยะเวลาตั้งแต่ตัดแต่งกิ่งถึงเก็บเกี่ยวต่างกัน และยังแปรปรวนตามฤดูกาลและพื้นที่ปลูกด้วย จึงเป็นแค่การประมาณว่าผลผลิตจะเก็บเกี่ยวได้ช่วงใดเท่านั้น ดัชนีเก็บเกี่ยวของผลองุ่นเบื้องต้นจะพิจารณาจากลักษณะสีผิวของผลที่สามารถสังเกตได้ แต่อย่างไรก็ตาม การเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลผลิตองุ่นที่คุณภาพสูง และเชื่อมั่นได้ ควรวัดความหวานของผลทุกช่อ เพราะถึงแม้ว่าจะตัดแต่งกิ่งพร้อมกัน แต่การบานของดอกยังคงมีความแปรปรวนอยู่มาก วิธีการทำโดยเก็บผลที่ปลายช่อมาวัดความหวาน ความหวานขององุ่นจะขึ้นอยู่กับพันธุ์ โดยองุ่นในพันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ในฤดูหนาวที่ผลผลิตมีคุณภาพดี จะมีความหวานประมาณ 18-20 องศาบริกซ์ แต่ในฤดูฝนจะมีความหวานประมาณ 14-16 องศาบริกซ์

การป้องกันโรคและกำจัดโรคขององุ่น ซึ่งองุ่นเป็นไม้ผลที่มีโรคและแมลงมากชนิดหนึ่ง จึงเป็นเหตุให้การปลูกองุ่นต้องลงทุนสูง โรคขององุ่นมีดังนี้ โรคราน้ำค้าง เกิดจากเชื้อรา วิธีการป้องกันคือ ฉีดพ่นด้วย ริดโดมิล โกลด์ เอพรอล หรือ อาลีเอท โรคราแป้งเกิดจากเชื้อรา การป้องกันกำจัดต้องตรวจสอบแปลงอยู่เสมอ และป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบการระบาด โดยใช้สารเคมีประเภทสัมผัส เช่น คูมูลัส-ดีเอฟ ดาโคนิล และแอนทราโคล ถ้าการระบาดรุนแรงให้ใช้สารประเภทดูดซึม เช่น คาลิกซิน นูสตาร์ ซาพรอล และสโตรบี้ โรคสแคบหรือโรคอีบุบ เกิดจากเชื้อราชั้นสูง ทันทีที่พบการระบาดควรพ่นยาประเภทดูดซึม เช่น อมิสตา ซาพรอล ท็อกซิน สลับกับ รอฟรัลโกลด์ ดาโคนิล สกอร์ โรคราสนิมเกิดจากเชื้อรา การป้องกันกำจัด หากพบการระบาดพ่นด้วยไวตาแวกซ์ นูสตาร์ หรือโพรพิโคนาโซล ส่วนแมลงที่พบการระบาด เพลี้ยไฟ สารเคมีที่ใช้กำจัด เช่น คอนฟิดอร์ หรือ ทรีบอน ไรแดง สารป้องกันกำจัด ได้แก่ โอ ไมท์ 30 หรือนิสโซลัน

 1“เราเป็นเถาองุ่นแท้ และพระบิดาของเราทรงเป็นผู้ดูแลรักษา 2แขนงทุกแขนงในเราที่ไม่ออกผล พระองค์ก็ทรงตัดทิ้งเสีย และแขนงทุกแขนงที่ออกผล พระองค์ก็ทรงลิดเพื่อให้ออกผลมากขึ้น 3ท่านทั้งหลายได้รับการชำระให้สะอาดแล้วด้วยถ้อยคำที่เราได้กล่าวแก่ท่าน 4จงเข้าสนิทอยู่ในเรา และเราเข้าสนิทอยู่ในท่าน แขนงจะออกผลเองไม่ได้ นอกจากจะติดอยู่กับเถาฉันใด ท่านทั้งหลายก็จะเกิดผลไม่ได้ นอกจากจะเข้าสนิทอยู่ในเราฉันนั้น 5เราเป็นเถาองุ่น ท่านทั้งหลายเป็นแขนง ผู้ที่เข้าสนิทอยู่ในเราและเราเข้าสนิทอยู่ในเขา ผู้นั้นก็จะเกิดผลมาก เพราะถ้าแยกจากเราแล้วท่านจะทำสิ่งใดไม่ได้เลย .... ยน15:1-5


องุ่น เป็นไม้ผลซึ่งเป็นที่ยอมรับกันว่าปลูกยากและมีความเสี่ยงในการปลูกสูง แต่ผลจากการศึกษาและพัฒนาการปลูกองุ่นของโครงการหลวงพบว่า สามารถทำให้การปลูกองุ่นประสบผลสำเร็จได้ง่ายขึ้น โดยใช้ระบบการตัดแต่งกิ่งและการสร้างกิ่งที่จะให้ผลผลิตทดแทนที่ดี การจัดการให้ต้นองุ่นเจริญเติบโตเหมาะสมกับฤดูกาลและอุณหภูมิการปลูกองุ่นโดยใช้หลังคาพลาสติคคุณชยาณ์ ไชยประสบ เจ้าหน้าที่สถานีเกษตรหลวงปางดะ กล่าวว่า การปลูกองุ่น หรือผลไม้อื่นทั่วไปผู้ปลูกดูสภาพพื้นที่และภูมิอากาศที่เหมาะสม แต่องุ่นไม่ค่อยมีปัญหาในเรื่องสภาพพื้นที่มากนัก เนื่องจากองุ่นปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่พื้นที่มีน้ำเพียงพอ สำหรับภูมิอากาศนับว่ามีอิทธิพลต่อการปลูกองุ่นเป็นอย่างมาก เพราะมีอิทธิพลต่อการสร้างตาดอกและการให้ผลผลิต องุ่นบางพันธุ์จะให้ผลผลิตได้ดีในสภาพอากาศที่หนาวเย็น ในขณะที่บางพันธุ์ก็สามารถให้ผลผลิตได้ในสภาพอากาศที่หลากหลาย เช่น พันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ที่ปลูกได้ดีและมีคุณภาพ ถ้าสภาพอากาศไม่หนาวเย็นก็ควรจะเลือกปลูกองุ่นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตง่ายในสภาพอากาศร้อน และต้องมีการกำหนดระยะการปลูกที่เหมาะสม โดยใช้ต้นแบบ ตัว T และ ตัว H ซึ่งการปลูกองุ่นในระบบใหม่ของโครงการหลวงจะใช้ต้นกล้าขนาดใหญ่ เพื่อให้สามารถจัดทรงต้นและสร้างกิ่งได้ทันทีหลังปลูกโดยระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูก คือในช่วงปลายฤดูฝนถึงต้นฤดูร้อน หรือตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงมีนาคม แต่ไม่ว่าจะปลูกในเดือนใดของช่วงนี้ก็ต้องตัดแต่งกิ่งเพื่อสร้างกิ่งหลักให้ได้ภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคม ซึ่งสภาพภูมิอากาศกำลังร้อนขึ้น เพื่อให้กิ่งหลักที่เกิดมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและแข็งแรง ซึ่งจะทำให้กิ่งสร้างกิ่งแขนงได้ดี ซึ่งกิ่งนี้จะเป็นกิ่งที่ใช้เพื่อตัดแต่งเอาผลผลิตต่อไป การเตรียมหลุมปลูกควรให้มีความกว้าง 70-100 เซนติเมตร แต่ไม่จำเป็นต้องลึกนัก คือประมาณ 30-50 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยหินฟอสเฟต และผสมดินปลูกในหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ซึ่งถ้ามีการใส่วัสดุต่างๆ สำหรับปรับปรุงดินไว้เป็นอย่างดี ตั้งแต่การไถเตรียมพื้นที่ ก็ไม่จำเป็นที่จะต้องทำหลุมใหญ่นัก การนำต้นกล้าลงปลูกในหลุมจะต้องจัดรากให้กระจายออกไปรอบต้น

เมื่อองุ่นโตขึ้นมาแล้ว ผู้ปลูกองุ่นต้องจัดทรงต้นองุ่น คือการจัดทรงให้ต้นองุ่นมีรูปทรงที่กำหนด โดยการจัดวางกิ่งต่างๆ ภายในต้นอย่างเป็นระบบ และเหมาะสม เพื่อให้องุ่นให้ผลผลิตที่ดีและสะดวกต่อการปฏิบัติดูแลรักษา ส่วนประกอบในทรงต้นองุ่นมี 4 อย่าง คือ ต้น กิ่งหลัก โครงสร้าง กิ่งที่ใช้ตัดแต่งกิ่งเพื่อเอาผลผลิต กิ่งใหม่ที่ให้ผลผลิต ซึ่งรูปแบบทรงต้นองุ่นจะเป็นแบบ ตัว H และทรง ตัว T โดยทรงต้นทั้งสองแบบจะทำให้ต้นองุ่นแข็งแรงและเจริญเติบโตรวดเร็ว สามารถปรับใช้ได้กับโรงเรือนหลายรูปแบบ

การตัดแต่งกิ่งเพื่อเอาผลผลิตเป็นขั้นตอนสำคัญมาก เพราะเป็นวิธีการทำให้ต้นองุ่นให้ผลผลิต และสร้างกิ่งสำหรับตัดแต่งเอาผลผลิตในครั้งต่อไป โดยการตัดแต่งกิ่งเป็นการบังคับให้แตกตาและเกิดเป็นกิ่งใหม่ที่มีดอกและติดผล จากนั้นเมื่อกิ่งใหม่แก่ ก็ใช้เป็นกิ่งสำหรับตัดเอาผลผลิตต่อไป ในการปลูกองุ่นโครงการหลวงได้พัฒนาระบบการตัดแต่งกิ่งแบบใหม่ที่ทำให้ต้นองุ่นให้ผลผลิตสูง และสามารถสร้างกิ่งทดแทนได้ดี โดยเป็นระบบการตัดแต่ง 2 ครั้ง ต่อปี และ 1 กิ่ง ตัดแต่ง 2 ครั้ง ดังนี้

ตัดแต่ง ครั้งที่ 1 แบบตัดยาวเป็นการตัดแต่งเพื่อมุ่งเอาผลผลิตในช่วงที่มีคุณภาพดีที่สุด คือฤดูหนาวหรือฤดูแล้ง โดยหลังจากการจัดทรงต้นและตัดแต่งสร้างกิ่งในเดือนมกราคม กิ่งจะแก่และเริ่มตัดแต่งเอาผลผลิตตามระบบได้ในเดือนสิงหาคม-ตุลาคม วิธีการตัดแต่งกิ่งแบบยาว คือเหลือตาบนกิ่ง ประมาณ 5-10 ตา ขึ้นกับความสมบูรณ์ของตาและใช้สารไฮโดรเจน ไซยานาไมด์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ทาที่ตา 2-3 ตา จากปลายกิ่งเพื่อช่วยให้แตกตา และให้ผลผลิต โดยต้องรักษาไม่ให้ตาที่อยู่โคนกิ่งแตกออกมาเพื่อไว้ใช้ในการตัดแต่งครั้งที่ 2 ต่อไป การตัดแต่งครั้งที่ 1 นี้ ถ้าทำในช่วงที่อากาศเย็นจะทำให้แตกตาช้าลง

ตัดแต่ง ครั้งที่ 2 แบบตัดแต่งสั้น เป็นการตัดแต่งเพื่อสร้างกิ่งใหม่ทดแทนกิ่งเดิมและเอาผลผลิต โดยหลังจากเก็บผลผลิตของการตัดแต่งครั้งที่ 1 ซึ่งจะอยู่ในช่วงฤดูหนาวหรือฤดูร้อนแล้วสามารถตัดแต่งกิ่งครั้งที่ 2 ได้ทันที โดยจะทำได้ตั้งแต่เดือนที่อุณหภูมิเริ่มสูงขึ้น คือเดือนมกราคมเพราะเหมาะต่อการสร้างกิ่งใหม่ให้สมบูรณ์ วิธีการคือตัดแต่งกิ่งเดิมอีกครั้งให้สั้นลง เหลือ 2-3 ตา จากนั้นพ่นสารไฮโดรเจนไซยานาไมด์ ความเข้มข้น 5 เปอร์เซ็นต์ ทำลายการพักตัวของตา จะทำให้กิ่งที่เกิดใหม่ที่อยู่ใกล้กับกิ่งโครงสร้างเช่นเดิม โดยยังให้ผลผลิตได้ดี แต่ความหวานของผลอาจลดต่ำลงถ้าผลเก็บเกี่ยวในฤดูฝน ปกติกิ่งที่เกิดใหม่จะมากเกินไป จึงต้องตัดแต่งกิ่งออกตั้งแต่กิ่งที่ต้องการเท่านั้น ต่อไปเมื่อกิ่งแก่ประมาณเดือนกรกฎาคม-กันยายน ก็ตัดแต่งเอาผลผลิตต่อไป โดยเป็นการตัดแต่งครั้งที่ 1 แบบตัดแต่งยาว วิธีการดังกล่าวจะทำให้กิ่งยืดยาว ห่างออกจากกิ่งหลักประมาณปีละ 5 เซนติเมตร

การเก็บเกี่ยวผลผลิตผลองุ่นต้องเก็บเกี่ยวในระยะที่ผลสุกและมีรสชาติดีตั้งแต่บนต้น เพราะหลังเก็บเกี่ยวแล้วผลจะไม่มีการพัฒนาด้านรสชาติให้ดีขึ้นได้เหมือนไม้ผลบางอย่าง องุ่นแต่ละพันธุ์มีระยะเวลาตั้งแต่ตัดแต่งกิ่งถึงเก็บเกี่ยวต่างกัน และยังแปรปรวนตามฤดูกาลและพื้นที่ปลูกด้วย จึงเป็นแค่การประมาณว่าผลผลิตจะเก็บเกี่ยวได้ช่วงใดเท่านั้น ดัชนีเก็บเกี่ยวของผลองุ่นเบื้องต้นจะพิจารณาจากลักษณะสีผิวของผลที่สามารถสังเกตได้ แต่อย่างไรก็ตาม การเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้ผลผลิตองุ่นที่คุณภาพสูง และเชื่อมั่นได้ ควรวัดความหวานของผลทุกช่อ เพราะถึงแม้ว่าจะตัดแต่งกิ่งพร้อมกัน แต่การบานของดอกยังคงมีความแปรปรวนอยู่มาก วิธีการทำโดยเก็บผลที่ปลายช่อมาวัดความหวาน ความหวานขององุ่นจะขึ้นอยู่กับพันธุ์ โดยองุ่นในพันธุ์บิวตี้ ซีดเลส ในฤดูหนาวที่ผลผลิตมีคุณภาพดี จะมีความหวานประมาณ 18-20 องศาบริกซ์ แต่ในฤดูฝนจะมีความหวานประมาณ 14-16 องศาบริกซ์

การป้องกันโรคและกำจัดโรคขององุ่น ซึ่งองุ่นเป็นไม้ผลที่มีโรคและแมลงมากชนิดหนึ่ง จึงเป็นเหตุให้การปลูกองุ่นต้องลงทุนสูง โรคขององุ่นมีดังนี้ โรคราน้ำค้าง เกิดจากเชื้อรา วิธีการป้องกันคือ ฉีดพ่นด้วย ริดโดมิล โกลด์ เอพรอล หรือ อาลีเอท โรคราแป้งเกิดจากเชื้อรา การป้องกันกำจัดต้องตรวจสอบแปลงอยู่เสมอ และป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบการระบาด โดยใช้สารเคมีประเภทสัมผัส เช่น คูมูลัส-ดีเอฟ ดาโคนิล และแอนทราโคล ถ้าการระบาดรุนแรงให้ใช้สารประเภทดูดซึม เช่น คาลิกซิน นูสตาร์ ซาพรอล และสโตรบี้ โรคสแคบหรือโรคอีบุบ เกิดจากเชื้อราชั้นสูง ทันทีที่พบการระบาดควรพ่นยาประเภทดูดซึม เช่น อมิสตา ซาพรอล ท็อกซิน สลับกับ รอฟรัลโกลด์ ดาโคนิล สกอร์ โรคราสนิมเกิดจากเชื้อรา การป้องกันกำจัด หากพบการระบาดพ่นด้วยไวตาแวกซ์ นูสตาร์ หรือโพรพิโคนาโซล ส่วนแมลงที่พบการระบาด เพลี้ยไฟ สารเคมีที่ใช้กำจัด เช่น คอนฟิดอร์ หรือ ทรีบอน ไรแดง สารป้องกันกำจัด ได้แก่ โอ ไมท์ 30 หรือนิสโซลัน

มาปลูกองุ่นประดับหน้าบ้านกันเถอะ

เย็น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น